Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 1 ระดับ1 บทที่ 16"

From Korean Wiki Project
Jump to: navigation, search
 
Line 1: Line 1:
 
บทนี้ เราจะมาเรียนการผันกริยา เวลาเราหาคำศัพท์ในพจนานุกรม กริยาจะอยู่ในรูปแบบดังนี้
 
บทนี้ เราจะมาเรียนการผันกริยา เวลาเราหาคำศัพท์ในพจนานุกรม กริยาจะอยู่ในรูปแบบดังนี้
  
가다 [ga-da] = ไป
+
*가다 [ga-da] = ไป
먹다 [meok-da] = กิน
+
*먹다 [meok-da] = กิน
자다 [ ja-da] = นอน
+
*자다 [ ja-da] = นอน
때리다 [ttae-ri-da] = ตี
+
*때리다 [ttae-ri-da] = ตี
웃다 [ut-da] = หัวเราะ
+
*웃다 [ut-da] = หัวเราะ
  
 
เมื่อเราต้องการจะเปลียนรูปแบบกริยาเพื่อแสดงปัจจุบันกาล อนาคตกาล หรือ อดีตกาล สิ่งแรกที่ต้องทำคือละ คำลงท้ายกริยา 다 [da] แล้วเราก็จะได้รากศัพท์ของคำกริยา
 
เมื่อเราต้องการจะเปลียนรูปแบบกริยาเพื่อแสดงปัจจุบันกาล อนาคตกาล หรือ อดีตกาล สิ่งแรกที่ต้องทำคือละ คำลงท้ายกริยา 다 [da] แล้วเราก็จะได้รากศัพท์ของคำกริยา
  
가 [ga]
+
*가 [ga]
먹 [meok]
+
*먹 [meok]
자 [ ja]
+
*자 [ ja]
때리 [ttae-ri]
+
*때리 [ttae-ri]
웃 [ut]
+
*웃 [ut]
  
 
จากนี้เราก็จะผันกริยาโดยการเติมคำลงท้ายให้เหมาะสม บทนี้เราจะเรียนการผันกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาล
 
จากนี้เราก็จะผันกริยาโดยการเติมคำลงท้ายให้เหมาะสม บทนี้เราจะเรียนการผันกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาล
  
ปัจจุบันกาล
+
== ปัจจุบันกาล ==
  
 
การผันกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาล เราจะเติมคำลงท้ายต่อไปนี้ต่อจากรากศัพท์คำกริยา
 
การผันกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาล เราจะเติมคำลงท้ายต่อไปนี้ต่อจากรากศัพท์คำกริยา
  
아요 [a-yo]
+
*아요 [a-yo]
어요 [eo-yo]
+
*어요 [eo-yo]
여요 [yeo-yo]
+
*여요 [yeo-yo]
  
 
**จำไว้ว่าเรากำลังเรียนการลงท้ายในภาษาสุภาพ ยังไม่ต้องกังวลถึงการใช้ภาษาแบบสุภาพในระดับอื่นๆ หลังจากที่เราเรียนรู้การพูดทุกอย่างในแบบภาษาสุภาพแล้ว การเปลี่ยนเป็นภาษาที่สุภาพขึ้นไปอีกจะง่ายขึ้นแล้ว
 
**จำไว้ว่าเรากำลังเรียนการลงท้ายในภาษาสุภาพ ยังไม่ต้องกังวลถึงการใช้ภาษาแบบสุภาพในระดับอื่นๆ หลังจากที่เราเรียนรู้การพูดทุกอย่างในแบบภาษาสุภาพแล้ว การเปลี่ยนเป็นภาษาที่สุภาพขึ้นไปอีกจะง่ายขึ้นแล้ว
Line 31: Line 31:
 
ง่ายมาก
 
ง่ายมาก
  
ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วยสระ ㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย 아요 [a-yo]
+
*ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วยสระ ㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย 아요 [a-yo]
ถ้าคำกริยาไม่ได้ลงท้ายด้วยสระㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย [eo-yo]
+
*ถ้าคำกริยาไม่ได้ลงท้ายด้วยสระㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย [eo-yo]
และคำกริยาที่ลงท้ายด้วย 하 [ha] เท่านั้น ถึงจะตามด้วย 여요 [yeo-yo]
+
*และคำกริยาที่ลงท้ายด้วย 하 [ha] เท่านั้น ถึงจะตามด้วย 여요 [yeo-yo]
  
ตัวอย่าง
+
'''ตัวอย่าง'''<br />
1) 가다 [ga-da] = to go
+
1) 가다 [ga-da] = to go<br />
รากศัพท์คือ 가 [ga] เสียงสระลงท้ายคือㅏ [a] เพราะฉะนั้นเราจะเติม 아요 [a-yo]
+
รากศัพท์คือ 가 [ga] เสียงสระลงท้ายคือㅏ [a] เพราะฉะนั้นเราจะเติม 아요 [a-yo]<br />
 
ตอนแรกจะผสมกันเป็น 가 + 아요 และเพื่อให้ออกเสียงเป็นธรรมชาติมากขึ้น ก็จะกลายเป็น 가요 [ga-yo]
 
ตอนแรกจะผสมกันเป็น 가 + 아요 และเพื่อให้ออกเสียงเป็นธรรมชาติมากขึ้น ก็จะกลายเป็น 가요 [ga-yo]
  
 
가다 [ga-da] = ไป (รูปแบบปรากฎในพจนานุกรม) --> 가요 [ga-yo] = ฉันไป เธอไป เขาไป พวกเขาไป (ปัจจุบันกาล)
 
가다 [ga-da] = ไป (รูปแบบปรากฎในพจนานุกรม) --> 가요 [ga-yo] = ฉันไป เธอไป เขาไป พวกเขาไป (ปัจจุบันกาล)
  
2) 먹다 [meok-da] = กิน
+
2) 먹다 [meok-da] = กิน<br />
รากศัพท์คือ 먹 [meok] เสียงสระคือ ㅓ [eo] ซึ่งไม่ได้  ㅏ หรือ ㅗ ดังนั้นเราจะเติม 어요 [eo-yo]
+
รากศัพท์คือ 먹 [meok] เสียงสระคือ ㅓ [eo] ซึ่งไม่ได้  ㅏ หรือ ㅗ ดังนั้นเราจะเติม 어요 [eo-yo]<br />
ก็จะกลายเป็น 먹 + 어요 [meo-geo-yo]
+
ก็จะกลายเป็น 먹 + 어요 [meo-geo-yo]<br />
 
먹다 [meok-da] = กิน (รูปแบบในพจนานุกรม) 먹어요 [meo-geo-yo] = ฉันกิน เขากิน เธอกิน (ปัจจุบันกาล)
 
먹다 [meok-da] = กิน (รูปแบบในพจนานุกรม) 먹어요 [meo-geo-yo] = ฉันกิน เขากิน เธอกิน (ปัจจุบันกาล)
  
 
**จำไว้ว่ามีการเชื่อมเสียง 먹 + 어 [meok + eo] เป็น 머거 [meo-geo]
 
**จำไว้ว่ามีการเชื่อมเสียง 먹 + 어 [meok + eo] เป็น 머거 [meo-geo]
  
3) 보다 [bo-da] = ดู มอง เห็น
+
3) 보다 [bo-da] = ดู มอง เห็น<br />
รากศัพท์คือ  보 [bo]  
+
รากศัพท์คือ  보 [bo]<br />
ตามด้วย 아요 [a-yo]  
+
ตามด้วย 아요 [a-yo]<br />
보 + 아요 ---> เมื่อเวลาผ่านไป การออกเสียงและเขียนก็เริ่มเป็น 봐요 [bwa-yo] (พูด 보 + 아 + 요 สามครั้งติดกันเร็วๆ )
+
보 + 아요 ---> เมื่อเวลาผ่านไป การออกเสียงและเขียนก็เริ่มเป็น 봐요 [bwa-yo] (พูด 보 + 아 + 요 สามครั้งติดกันเร็วๆ )<br />
보다 [bo-da] = ดู มอง เห็น
+
보다 [bo-da] = ดู มอง เห็น<br />
 
봐요 [bwa-yo] = ฉันเห็น ฉันดู เธอดู (ปัจจุบันกาล)
 
봐요 [bwa-yo] = ฉันเห็น ฉันดู เธอดู (ปัจจุบันกาล)
 +
 +
 +
4) 보이다 [bo-i-da] = ได้รับการมองเห็น ชัดเจน<br />
 +
รากศัพท์ 보이 [bo-i]<br />
 +
ตามด้วย 어요 [eo-yo]<br />
 +
보이 + 어요 ---> 보여요 [bo-yeo-yo]<br />
 +
보이다 [bo-i-da] = ได้รับการมองเห็น ชัดเจน<br />
 +
보여요 [bo-yeo-yo] = มันชัดเจน ฉันเห็นมัน
 +
 +
5)하다 [ha-da] = ทำ<br />
 +
รากศัพท์ 하 [ha]<br />
 +
ตามด้วย 여요 [yeo-yo]<br />
 +
하 + 여요 ---> 하여요 [ha-yeo-yo]<br />
 +
เวลาผ่านไป 하여요 กลายเป็น 해요 [hae-yo]<br />
 +
 +
** จำไว้ว่า กริยา 하다 สามารถใช้ได้หลากหลายมาก เราสามารถเติมคำนามข้างหน้า หรือสร้างกริยาขึ้นมาใหม่ เราจะแนะนำเรื่องนี้ในบทที่ 23 แต่ตอนนี้ เราจำแค่ว่า 하다 กลายเป็น 해요 ในแบบปัจจุบันกาล จะมีความหมายว่า ฉันทำ เธอทำ เขาทำ พวกเขาทำ
 +
 +
แล้วมีข้อยกเว้นไหม
 +
 +
เสียใจด้วย มี แต่ไม่ต้องกังวล ถึงจะมีข้อยกเว้นแต่ก็ไม่ได้ต่างไปจากกฏธรรมดาเท่าไหร่ และแน่นอนว่าเราจะนำเสนอในรูปแบบที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในบทต่อ ๆ ไป
 +
 +
ขอบคุณที่มาเรียนกับเราในบทนี้ค่ะ

Latest revision as of 17:20, 3 January 2012

บทนี้ เราจะมาเรียนการผันกริยา เวลาเราหาคำศัพท์ในพจนานุกรม กริยาจะอยู่ในรูปแบบดังนี้

  • 가다 [ga-da] = ไป
  • 먹다 [meok-da] = กิน
  • 자다 [ ja-da] = นอน
  • 때리다 [ttae-ri-da] = ตี
  • 웃다 [ut-da] = หัวเราะ

เมื่อเราต้องการจะเปลียนรูปแบบกริยาเพื่อแสดงปัจจุบันกาล อนาคตกาล หรือ อดีตกาล สิ่งแรกที่ต้องทำคือละ คำลงท้ายกริยา 다 [da] แล้วเราก็จะได้รากศัพท์ของคำกริยา

  • 가 [ga]
  • 먹 [meok]
  • 자 [ ja]
  • 때리 [ttae-ri]
  • 웃 [ut]

จากนี้เราก็จะผันกริยาโดยการเติมคำลงท้ายให้เหมาะสม บทนี้เราจะเรียนการผันกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาล

ปัจจุบันกาล

การผันกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาล เราจะเติมคำลงท้ายต่อไปนี้ต่อจากรากศัพท์คำกริยา

  • 아요 [a-yo]
  • 어요 [eo-yo]
  • 여요 [yeo-yo]
    • จำไว้ว่าเรากำลังเรียนการลงท้ายในภาษาสุภาพ ยังไม่ต้องกังวลถึงการใช้ภาษาแบบสุภาพในระดับอื่นๆ หลังจากที่เราเรียนรู้การพูดทุกอย่างในแบบภาษาสุภาพแล้ว การเปลี่ยนเป็นภาษาที่สุภาพขึ้นไปอีกจะง่ายขึ้นแล้ว

แล้ว คำลงท้ายแบบไหนจะคู่กับกริยาแบบไหนกันล่ะ

ง่ายมาก

  • ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วยสระ ㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย 아요 [a-yo]
  • ถ้าคำกริยาไม่ได้ลงท้ายด้วยสระㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย [eo-yo]
  • และคำกริยาที่ลงท้ายด้วย 하 [ha] เท่านั้น ถึงจะตามด้วย 여요 [yeo-yo]

ตัวอย่าง
1) 가다 [ga-da] = to go
รากศัพท์คือ 가 [ga] เสียงสระลงท้ายคือㅏ [a] เพราะฉะนั้นเราจะเติม 아요 [a-yo]
ตอนแรกจะผสมกันเป็น 가 + 아요 และเพื่อให้ออกเสียงเป็นธรรมชาติมากขึ้น ก็จะกลายเป็น 가요 [ga-yo]

가다 [ga-da] = ไป (รูปแบบปรากฎในพจนานุกรม) --> 가요 [ga-yo] = ฉันไป เธอไป เขาไป พวกเขาไป (ปัจจุบันกาล)

2) 먹다 [meok-da] = กิน
รากศัพท์คือ 먹 [meok] เสียงสระคือ ㅓ [eo] ซึ่งไม่ได้ ㅏ หรือ ㅗ ดังนั้นเราจะเติม 어요 [eo-yo]
ก็จะกลายเป็น 먹 + 어요 [meo-geo-yo]
먹다 [meok-da] = กิน (รูปแบบในพจนานุกรม) 먹어요 [meo-geo-yo] = ฉันกิน เขากิน เธอกิน (ปัจจุบันกาล)

    • จำไว้ว่ามีการเชื่อมเสียง 먹 + 어 [meok + eo] เป็น 머거 [meo-geo]

3) 보다 [bo-da] = ดู มอง เห็น
รากศัพท์คือ 보 [bo]
ตามด้วย 아요 [a-yo]
보 + 아요 ---> เมื่อเวลาผ่านไป การออกเสียงและเขียนก็เริ่มเป็น 봐요 [bwa-yo] (พูด 보 + 아 + 요 สามครั้งติดกันเร็วๆ )
보다 [bo-da] = ดู มอง เห็น
봐요 [bwa-yo] = ฉันเห็น ฉันดู เธอดู (ปัจจุบันกาล)


4) 보이다 [bo-i-da] = ได้รับการมองเห็น ชัดเจน
รากศัพท์ 보이 [bo-i]
ตามด้วย 어요 [eo-yo]
보이 + 어요 ---> 보여요 [bo-yeo-yo]
보이다 [bo-i-da] = ได้รับการมองเห็น ชัดเจน
보여요 [bo-yeo-yo] = มันชัดเจน ฉันเห็นมัน

5)하다 [ha-da] = ทำ
รากศัพท์ 하 [ha]
ตามด้วย 여요 [yeo-yo]
하 + 여요 ---> 하여요 [ha-yeo-yo]
เวลาผ่านไป 하여요 กลายเป็น 해요 [hae-yo]

    • จำไว้ว่า กริยา 하다 สามารถใช้ได้หลากหลายมาก เราสามารถเติมคำนามข้างหน้า หรือสร้างกริยาขึ้นมาใหม่ เราจะแนะนำเรื่องนี้ในบทที่ 23 แต่ตอนนี้ เราจำแค่ว่า 하다 กลายเป็น 해요 ในแบบปัจจุบันกาล จะมีความหมายว่า ฉันทำ เธอทำ เขาทำ พวกเขาทำ

แล้วมีข้อยกเว้นไหม

เสียใจด้วย มี แต่ไม่ต้องกังวล ถึงจะมีข้อยกเว้นแต่ก็ไม่ได้ต่างไปจากกฏธรรมดาเท่าไหร่ และแน่นอนว่าเราจะนำเสนอในรูปแบบที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในบทต่อ ๆ ไป

ขอบคุณที่มาเรียนกับเราในบทนี้ค่ะ